leningnederland.com

วิธี ออกเสียง ภาษา อังกฤษ

May 14, 2022

เสียง t และ d » กลับไปที่ สารบัญ

การฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษ ให้ถูกต้อง 27 เทคนิคดีๆ ที่นำไปฝึกได้

ออกเสียงอย่างไรให้ถูกต้อง

  • การฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษ ให้ถูกต้อง 27 เทคนิคดีๆ ที่นำไปฝึกได้
  • ตู้ เก็บ ของ สำนักงาน
  • หอพัก โคราช ใกล้ เท อ มิ น อ ล
  • วันพีช ตอนที่ 567
  • ทอด หมู ไม่ ให้ น้ํา มัน กระเด็น
  • 8. เสียง ch และ sh - พูดภาษาอังกฤษสำเนียงไทยให้ถูกต้อง
  • โหลด the treacherous world
  • เคส tsunami super zero 1
  • รถตักเอนกประสงค์ขนาดเล็ก

วิธีฝึกการออกเสียงภาษาอังกฤษให้ดีขึ้น....เทคนิคจากเจ้าของภาษา - GotoKnow

ภาษาอังกฤษสำหรับครูปฐมวัย: เนื้อหาที่ 1 การออกเสียงภาษาอังกฤษ

นอกจากนี้ยังมีการออกเสียงในตัวอักษรอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น Ch โดยให้ปลายลิ้นแตะที่เพดานปากถึงฟันบน ออกเสียงลมกระแทกออกมาให้เป็น เชอะ หรือ Sh โดยให้ปลายลิ้นแตะที่เพดานปากถึงฟันบนเช่นกัน ออกเสียงลมอ่อน ๆ ออกมาให้เป็น เฉอะ แค่นี้ก็รู้ได้ถึงความต่างแล้ว!! อย่าลืมค้นหาคำศัพท์ใหม่ ๆ มาฝึกออกเสียงให้ถูกต้องกันด้วยล่ะ และที่สำคัญต้องสร้างความมั่นใจในการเรียนรู้ ด้วยการใส่เสื้อผ้าสะอาดหอม จะได้ไบร์ท ๆ กันทุกวันนะ ลงทะเบียนมาเรียนภาษาอังกฤษกับครูลูกกอล์ฟฟรี!! พร้อมรับ! คอร์สเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ มูลค่ากว่า 1, 000 บาท เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

วิธีออกเสียงภาษาอังกฤษ

8. เสียง ch และ sh - พูดภาษาอังกฤษสำเนียงไทยให้ถูกต้อง

วิธีออกเสียงภาษาอังกฤษ

พูดอังกฤษให้เหมือนฝรั่ง ตอน Linking Sound การเชื่อมเสียง - ภาษาอังกฤษออนไลน์

คำนามหรือกริยาใด ๆ ที่มีเสียงท้ายคำเป็นเสียงพยัญชนะเสียงไม่ก้อง เมื่อต้องการทำคำนามเป็นพหูพจน์หรือเพื่อใช้กริยากับบุคคลที่สามที่เป็นเอกพจน์ให้ทำดังนี้ พยัญชนะเสียงไม่ก้อง p, t, k, f, th (แบบเสียงไม่ก้อง) ให้เติม s และให้ออกเสียง s เป็นเสียง s เช่น stops, starts, ducks, laughs, baths คำนามหรือคำกริยาที่ลงท้ายด้วยเสียง s, sh เสียงไม่ก้องและเสียงก้อง(จะอธิบายการออกเสียงในภายหลัง) ch, z และเสียงของพยัญชนะ j ต้องเติม es แต่ถ้าหลังคำนั้นมี e อยู่แล้วก็เติม s ให้ออกเสียงท้ายคำเหล่านี้เป็นเสียง iz เช่น houses, finishes, camouflages, catches, buzzes, pages.

ออกเสียงอย่างไรให้ถูกต้อง เวลาอ่านหนังสือ: 5 min ยังมีคำศัพท์ภาษาอังกฤษจำนวนมากที่ออกเสียงคล้ายกัน แต่ให้ความหมายต่างกัน ดังนั้นการฝึกออกเสียงให้ชัดเจนจึงเป็นสิ่งที่คุณต้องรู้ มาดูกันเลย!! 1. การออกเสียง Th วิธีออกเสียง Th ให้เริ่มต้นด้วยการเอาลิ้นแตะไว้ที่ปลายฟันบน และใช้ฟันล่างประกบเข้าที่ด้านล่างของลิ้น โดยให้ปลายลิ้นยื่นออกมาเล็กน้อย จากนั้นลองออกเสียงให้ลมผ่านปลายลิ้นและฟันพร้อมกัน ซึ่งจะได้เสียงผสมระหว่าง เสอะ กับ เธอะ (Th) ออกมาอย่างชัดเจน 2. การออกเสียง V วิธีออกเสียง V ให้เริ่มต้นด้วยการใช้ฟันบนสัมผัสกับริมฝีปากล่าง เปล่งเสียงผ่านฟันแล้วจึงค่อยแยกออกจากริมฝีปาก หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ทำปากเหมือนเสียง เฟอะ แต่พูดให้เป็นเสียง เวอะ เท่านั้นเอง 3. การออกเสียง L และ R อักษรแรกคือ L ถ้าพูดออกมาตรง ๆ ว่า แอล แปลว่าคุณกำลังออกเสียงผิด! เพราะอักษรตัวนี้จะใช้ปลายลิ้นแตะที่เพดานปากบริเวณโคนฟัน และอักษร R ถ้าพูดออกมาตรง ๆ ว่า อาร์ แปลว่าคุณกำลังออกเสียงผิดเช่นกัน!! เพราะอักษรตัวนี้เพียงแค่ให้ลิ้นงอขึ้นมาให้อยู่กลางช่องปาก จากนั้นจึงค่อยเปล่งออกจากลำคอก็ง่ายนิดเดียว 4. การออกเสียง S และ Z วิธีออกเสียง S ให้ใช้มือแตะที่ลำคอแล้วเปล่งลมออกมา จะสังเกตุได้ว่าภายในลำคอไม่มีการสั่นสะเทือนมากนัก ส่วนวิธีออกเสียง Z ให้ใช้วิธีเดียวกัน แต่เปล่งเสียงออกมาพร้อมกับลม ซึ่งสังเกตความต่างได้ว่าภายในลำคอจะมีการสั่นสะเทือนมากกว่า ไม่ยากอย่างที่คิดใช่ไหม?

Do you understand what I told? Didn't he attend class? Won't you go to work today? He comes from Australia, doesn't he? You can do it yourself, can't you? It isn't very costly, is it? -ประโยคบอกเล่าซึ่งแสดงถึงความสงสัย และรายชื่อสิ่งต่างๆ ใน ประโยค และท้ายประโยคหน้าซึ่งเป็นตอนหนึ่งของประโยค เช่น Oh, I am late. He passed the exams. There are three courses here: Conversationfwriting, Writing and Translation. Do you want to take tea, coffee or Coca-Cola? If it is ready, we will go now. He is a good man, but no one believes him. 3. เสียงตรง (Straight) การลงเสียงชนิดนี้ใช้กับข้อความที่ยังไม่จบประโยค คือยังจะพูดต่อไป หรือใช้กับประโยคยาวๆ เพื่อหยุดเป็นตอนๆ เพื่อพักหายใจหรือแยกความเป็นตอนให้เข้าใจง่าย เช่น I want to go now → (because I have many things to do). I don't know → (where he comes from). He said that → (he didn't understand). Yes, → she is. You should take Conversation and Writing courses, → and then take Translation course. เสียงสูงตํ่าเหล่านี้ นอกจากใช้กับประโยคแล้ว ยังสามารถใช้กับคำหรือวลีด้วย เพื่อให้กลายเป็นประโยคหรือเป็นส่วนของประโยคได้ เช่น Your book หรือ Yes อาจจะมีการลงเสียงได้หลายอย่าง ทำให้ประโยคแตกต่างกันดังนี้ Your book มีความหมายเป็นประโยคบอกเล่าว่า นี้หนังสือคุณ Your book มีความหมายเป็นคำถามว่า หนังสือคุณใช่ไหม Your book → ยังไม่จบประโยค อาจจะมีคำอื่นตามมา เช่น is here.

คุณ Josef Essberger ที่ เจ้าเดิมมีเทคนิค วิธีฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษ ให้ดีขึ้น มาฝาก อ่านดูแล้วคิดว่าเป็นวิธีที่ดีและน่าจะนำไปใช้ฝึกได้สำหรับหลายๆท่าน ก็เลยแปลแบบเก็บความมาฝากกันค่ะ เคยมีมาแล้วครั้งหนึ่งที่ บันทึกนี้ ค่ะ แต่คราวนี้เขาเพิ่มเติมวิธีฝึกมาให้ด้วย การเน้นเสียง เป็นหลักสำคัญในภาษาพูดภาษาอังกฤษ เจ้าของภาษาเขาจะเน้นเสียงอย่างเป็นธรรมชาติ ไม่เท่ากันไปหมด ต่างจากภาษาญี่ปุ่นหรือฝรั่งเศสที่แต่ละพยางค์จะออกเสียงเท่าๆกัน ทำให้คนที่ไม่ใช่เจ้าของภาษาที่เน้นเสียงไม่ถูกต้องจะพบกับปัญหา 2 ประการคือ 1. เข้าใจเจ้าของภาษาได้ยากโดยเฉพาะคนที่พูดเร็วๆ 2.

บางคนอาจจะคิดว่าการฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษเป็นเรื่องที่ยาก เพราะว่าการออกเสียงแต่ละคำในภาษาอังกฤษมีบางเสียงที่คล้ายกัน จนบางทีก็งงว่ามันต่างกันยังไง และจะต้องออกเสียงประมาณไหนถึงจะถูกต้อง วันนี้เราเลยมีเทคนิคการออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษยังไงให้ถูกต้องมาฝากกันด้วย ถ้าพร้อมแล้วก็ไปฝึกการออกเสียงกันเลย อ่าน 27 เทคนิค การฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษ ให้ถูกต้อง 27 เทคนิค การฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษ 1. คำที่ลงท้ายด้วย -OUS จากเดิมที่เราออกเสียงว่า "อัส" ให้เปลี่ยนเป็น "เอิ่ส" (เสียงต่ำลงมาอีกหนึ่งสเต็ป) เช่น Famous จากเดิม เฟ-มัส เปลี่ยนเป็น เฟ๊-เหมิ่ส (พยางค์สองเสียงต่ำลงมาหนึ่งสเต็ป) หรืออีกคำ Dangerous จากเดิม แดน-เจอ-รัส เปลี่ยนเป็น แด๊น-เจอะ-เหริส 2. คำที่ลงท้ายด้วย -ing ส่วนใหญ่คำกริยา เรามักจะออกเสียงว่า "อิ้ง" ให้ลดเสียงลงมาอีกหนึ่งสเต็ป เป็น "อิ่ง" เช่น Going เดิมออกเสียง โก-อิ้ง ไม่เอาแล้ว! ให้เปลี่ยนเป็น โก๊-อิ่ง, Reading จากเดิม รี๊ด-ดิ้ง เปลี่ยนเป็น รี๊ด-ดิ่ง, Comimg จากเดิม คัม-มิ้ง ขอออกเสียงสำเนียงเลิศๆ ว่า คั๊ม-หมิ่ง 3. คำที่ลงท้ายด้วย -ture ออกเสียงผิดกันประจำ ปกติคนไทยออกเสียง "เจ้อร์" ให้เปลี่ยนให้ถูกต้องเป็น "เฉ่อร์" เช่น Picture เดิม พิค-เจ้อร์ เปลี่ยนเป็น พิค-เฉ่อร์ อย่างไปที่รังสิตต้องเจอ Future ไม่เอา ฟิว-เจ้อร์ แล้ว ออกเสียงเก๋ๆ เป็น ฟิว-เฉ่อร์ เลิศ!!

คำที่ลงท้ายด้วย -om เราออกเสียงกันแบบไทยสไตล์ว่า "อ้อม" แต่จริงๆ แค่ "เอิ่ม" ก็พอ เช่น รณรงค์ให้ใช้ถุงยาง Condom ทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์ Condom มิใช่ คอน-ด้อม ออกเสียงแบบฝรั่งคือ ค๊อน-เดิ่ม, Random เปลี่ยนจาก แรน-ด้อม เป็น แรน-เดิ่ม, Bottom เดิมๆ คือ บ๊อต-ท่อม ต้องออกเสียงเป็น บ๊อต-เถิ่ม 18. คำที่ลงท้ายด้วย -ton (2 พยางค์ขึ้นไป) ปกติชอบออกเสียงกันแบบไทยๆ ว่า "ต้อน" จริงๆ ออกเสียงแบบฝรั่ง ต้องออกว่า "เทิ่น" ต่างหาก เช่น Cotton Bud เราออกเสียงกันว่า คัท-ตั้น-บัด แต่จริงๆ ต้องออกเสียงว่า คัท-เทิ่น-บัด, Carton ก็ไม่ใช่ คาร์-ต้อน เปลี่ยนเป็น คาร์-เทิ่น 19. คำที่ลงท้ายด้วย -ure (บางคำ) หลายๆ คำ เรามักจะเจอบ่อยๆ เช่น Pure, Cure, Secure เป็นต้น คำลงท้ายด้วย -ure เราชอบออกเสียงกันว่า "เอียว" เช่น Pure ออกเสียงว่า เพียว ซึ่งไม่ถูก (แต่ก็ไม่มาก ฝรั่งพอฟังออก) แต่ถ้าจะให้แบบถูกต้องก็คือ "พเยอร์" อ่านว่า พะ-เยอร์ ต้องควบคุมเสียงหรือออกเสียงเร็วๆ ให้เหมือนเป็นพยางค์เดียว ดังนั้น Cure ก็ไม่ใช่ เคียว ต้องเป็น คเยอร์ แทนนะจ๊ะ 20. คำที่ลงท้ายด้วย -us โดยปกติเราชอบออกเสียงว่า "อัส" ไม่ก็ "อุส" แต่ถ้าจะให้เป็นสำเนียงฝรั่งจริงๆ ต้องออกเสียงว่า "เอิ่ส" เช่น Status เดิมๆ ออกเสียงว่า สะ-เต-ตัส เปลี่ยนเป็น สะ-เต-เทิ่ส, ปลาหมึกยักษ์ Octopus เราจะไม่ออกเสียงว่า อ๊อก-โต-พุส ต่อจากนี้ให้ออกเสียงว่า อ๊อก-เถอะ-เผิส 21.

Yes มีความหมายเป็นการตอบรับโดยทั่วไป Yes ตอบรับแล้วอาจจะถามต่อว่า ใช่, มีอะไรหรือ Yes → มีความหมายยังไม่หมดประโยค อาจมีคำตามมา เช่น it is. อย่างไรก็ตาม บางประโยคอาจจะออกเสียงสูงต่ำแตกต่างไปจาก หลักเกณฑ์ที่กล่าวแล้ว ทำให้ความหมายแตกต่างออกไป ซึ่งมีตัวอย่างดัง ต่อไปนี้ -ประโยคคำถาม Alternative ลงเสียงต่ำท้ายประโยค แต่สามารถ ขึ้นเสียงได้ ความหมายกลายเป็นคำถาม Yes/No ต้องการคำตอบ Yes/No ดังที่กล่าวแล้วในตอนต้น เช่น Do you like tea or coffee? Yes. /No. คุณชอบชาหรือกาแฟไหม Will she take Writing or Reading? Yes. เธอจะเรียนการเขียนหรือการอ่านไหม -ประโยคคำถาม Wh-Question อาจจะลงเสียงท้ายประโยคสูงขึ้น ได้ ในกรณีต่อไปนี้ เพื่อเป็นการเอ็นดู ซึ่งผู้มีอายุถามเด็กๆ ด้วยความรัก ความเอ็นดู เช่น What's your name? Where are you from? และ เพื่อเป็นการย้อนคำถามเมื่อฟังไม่ชัดเจน ต้องการถามว่าตนถูกถามเช่นนั้น ใช่หรือไม่ เช่น A: Who is she? เธอเป็นใคร B: Who is she? เธอเป็นใครใช่ไหม A: Yes. ใช่ B: She is my secretary. เธอเป็นเลขานุการของฉันเอง ที่มา:ดร. สวาสดิ์ พรรณา สรุป การเน้นเสียงหนักในคำ คือเป็นการเน้นเสียงหนักในพยางค์หนึ่งของคำโดยที่ผู้พูดจะออกภาษาอังกฤษทุกคำจะมีพยางค์หนึ่งเท่านั้นที่ได้รับเสียงหนักเบาเสมอ ผู้เรียนจึงจำเป็นที่จต้องเรียนรู้ถึงการออกเสียงเน้นหนักในแต่ละคำให้ถูกต้อง

leningnederland.com, 2024